การออกแบบและการพัฒนารูปแบบ

การออกแบบและพัฒนารูปแบบ


                                                                                      ตารางการเปรียบเทียบการสอน

 รูปแบบการสอน ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3
 Constructionism 1. Explore    การสำรวจตรวจค้น
คือขั้นตอนนี้บุคคลจะเริ่มสำรวจตรวจค้นหรือพยายามทำความเข้าใจกับสิ่งใหม่ (assimilation) ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อได้พบหรือ ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมใหม่ๆที่ไม่มีอยู่ในสมองของตน ก็จะพยายามรับหรือดูดซึมเก็บเข้าไปเป็นความรู้ใหม่
 2. Experiment
การทดลอง คือขั้นตอนนี้จะเป็นการทดลองทำภายหลังจากที่มีการสำรวจไปแล้วเป็นการปรับความแตกต่างระหว่างของใหม่กับของเดิมจนเกิดความเข้าใจว่าควรจะทำอย่างไรกับสิ่งใหม่นี้ต่อไป
 3. Learning by doing การเรียนรู้จากการกระทำ คือการลงมือปฏิบัติแล้วสร้างองค์ความรู้ใหม่เป็นองค์ความรู้ของตนเอง ขั้นตอนนี้จะเป็นการผสมผสานระหว่างการรับหรือดูดซึม และการปรับความแตกต่าง
 Biggs 3P Model 1. ครูนำ เสนอบทเรียนในขั้นนำ เสนอ (P1 = Presentation)โดยนำ เสนอเป็นรูปประโยคที่ใช้ในการสื่อสาร (Whole Language) ไม่แยกสอนเป็นคำ ๆ นักเรียนจะเข้าใจภาษานั้นโดยภาพรวม หลีกเลี่ยงการแปลคำ ต่อคำ การนำ เสนอต้องชัดเจน และตรวจสอบจนแน่ใจว่านักเรียนเข้าใจสิ่งที่ครูนำ เสนอนั้น 2. ครูใช้กิจกรรมในขั้นฝึก (P2=Practice) อย่างหลากหลาย โดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง  ฝึกหัดและพูดในกลุ่มใหญ่ก่อน ฝึกกลุ่มโดยใช้การฝึกลูกโซ่  ฝึกคู่เปลี่ยนกันถามตอบ และก็ฝึกเดี่ยวโดยพูดกับครูทีละคน 3. กิจกรรมขั้นนำ เสนอผลงาน P3 (Production) เป็นขั้นที่นักเรียนจะนำ ภาษาไปใช้ ครูอาจจะให้ทำ แบบฝึกหัด อ่านและเขียนร้องเพลงหรือเล่นเกม ที่สืบเนื่องและเกี่ยวข้องกับภาษาที่เรียนมาในขั้นที่ 1 และ 2 อาจให้ทำ งานเป็นการบ้านหรือสร้างสรรค์ผลงาน
 Su learning Model 1. ผู้เรียนกำหนดกรอบวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของตนเอง ด้วยการระบุ ความรู้และการปฏิบัติโดยระบุความรู้ ในรูปของสารสนเทศหรือdeclarative knowledge และระบุทักษะ การปฏิบัติ(โครงงาน งานภาระงาน) กลยุทธ์ ทักษะ หรือกระบวนการ หรือprocedural knowledge และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2. ผู้เรียนออกแบบการเรียนรู้ และระบุเกณฑ์คุณภาพวัตถุประสงค์การเรียนรู้เป็นค่าระดับตามโครงสร้างการสังเกตผลการเรียนรู้ (structure of observed learning out-comes:SOLO Taxonomy) กรณีที่วัตถุประสงค์เป็นความรู้ความเข้าใจ จะระบุเป็นการเรียนรู้ร่วมกัน(collaborative learning)หรือการเรียนรู้แบบนำตนเอง(self-directed learning)โดยคำนึงถึงความมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ ถ้าผู้เรียนต้องการการเรียนรู้แบบการมีความคิดวิจารณญาณ จำเป็นจะต้องใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน(cooperative learning) มีการอภิปรายเรื่องราวที่เรียนรู้ กลยุทธการเรียนรู้แบบท างานเป็นทีม หรือกลยุทธการเรียนรู้เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์
 DRU  Model 1. P= Planning การวางแผน
  • D = Design การออกแบบและการพัฒนา
  • C = Cognitive network  ความรู้ความกระจ่างชัด
  • A = Affective network    การเรียนรู้จากเพื่อนร่วม วิชาชีพ
 2. C= Cognitive network  ความรู้ความกระจ่างชัด
  • L = Learning การเรียนรู้
  • M = Management  การจัดการ,การควบคุม
  • S = Strategic network  กลวิธี
 3. A = Assessment การประเมินค่า
  • S = Strategic network  กลวิธี
  • A = Affective network  การเรียนรู้จากเพื่อนร่วมวิชาชีพ
  • E = Evaluation  การประเมินผล


การเปรียบเทียบการสอนรูปแบบเก่ากับรูปแบบใหม่

 การสอนรูปแบบเก่า การสอนรูปแบบใหม่ (DRU)
 ขั้นนำ
  • ครูให้นักเรียนทบทวนความรู้เดิม ยกตัวอย่างสิ่งที่อยู่รอบๆตัว
  • ครูใช้คำถามเพื่อให้นักเรียนตอบ
  • ครูมีกิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน เช่น ร้องเพลง เต้น หรือใช้เกม
 Planning การวางแผน
  • นักเรียนออกแบบการจัดการเรียนรู้
  • นักเรียนค้นคว้า เรียนรู้จาก PPT,E-Book,ใบความรู้
  • นักเรียนคุยกับเพื่อน กับผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ
 ขั้นสอน
  • ครูให้นักเรียนทำการทดลอง
  • ครูสอนแบบบรรยาย โดยใช้หนังสือหรือ ใช้ Power Point (PPT)
  • ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดลงสมุด หนังสือ
 Cognitive network  ความรู้ความกระจ่างชัด
  • นักเรียนเลือกได้ว่าจะเรียนรู้จาก PPT,E-Book หรือใบความรู้
  • นักเรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข
  • นักเรียนกำหนดกลวิธีในการเรียนรู้
 ขั้นสรุป
  • ครูให้นักเรียนทำใบงาน
  • ครูให้นักเรียนนำเสนอผลงาน
  • ครูให้นักเรียนสรุปโดยทำแผนผังความคิด
 Assessment การประเมินค่า
  • นักเรียนมีกลวิธีในการเรียนรู้ การแบ่งงาน ทำงานตามความสามารถ
  • นักเรียนประเมินตรวจสอบ หรือทบทวนตัวเอง
  • นักเรียนคุยกับเพื่อน ผู้รู้ และผู้เชี่ยวชาญ
ขียนคำถามเพื่อให้พัฒนารูปแบบได้
DRU Model คืออะไร
        D คือ การวินิจฉัยความต้องการในการเรียนรู้จะนำไปสู่ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
        คือ ขั้นการวิจัยเพื่อกำหนดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้จะนำไปสู่ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้  
            คือ การตรวจสอบทบทวนโดยใช้แนวคิด UDLเพื่อการประเมินการพัฒนาการเรียนรู้จะนำไปสู่ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
DRU Model ด้านความรู้ (Knowledge) สอดคล้องกับปรัชญาใดบ้าง
          ปรัชญาสารัตถนิยม (Essentialism)
          - ปรัชญานิรันดรนิยม (Perenialism)
DRU Model ด้านผู้เรียน (Learner) สอดคล้องกับปรัชญาใดบ้าง
          - ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวะนิยม (Existentialism)
DRU Model ด้านสังคม (Society) สอดคล้องกับปรัชญาใดบ้าง
          ปฏิรูปนิยม (Reconstructionism)
หลักการ DRU Model มีว่าอย่างไร
     1.หลักปรัชญาการสอน ใช้หลักปรัชญาการสอนตามแนวคิด ทฤษฎีสรรค์นิยม
   2.การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ( learner centered learning) การเรียนรู้โดยใช้การวิจัย เป็นฐานะ และการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (cooperative learning)
 3.การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง (authentic assessment) และกำหนดคุณภาพตามแนวคิด SOLO Taxonomy) ร่วมกับแนวคิดกำรออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสำกล(Universal Design for Learning and Assessment)

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

รูปแบบการวิจัย (Research Design)

การวิจัยในชั้นเรียน : ความหมาย ความสำคัญ หลักการ ขั้นตอน

ประโยชน์ของการวิจัย