การออกแบบและพัฒนารูปแบบการสอนวิทยาศาสตร์

การออกแบบและพัฒนารูปแบบการสอนวิทยาศาสตร์

การออกแบบและพัฒนารูปแบบการสอนวิทยาศาสตร์  ออกแบบและพัฒนารูปแบบ  2.1 (ตาราง15 สัปดาห์ )

สัปดาห์ที่
สาระการเรียนรู้/เรื่องที่จะเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
1
-การปฐมนิเทศ
-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรูปแบบการสอนวิทยาศาสตร์
-แจกโครงสร้างการสอนพร้อมทั้งชี้แจงรายละเอียด
2
ความหมายของการพัฒนารูปแบบการสอนวิทยาศาสตร์
-บรรยาย
-ทำบล็อก
3
รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาสติปัญญา
-บรรยาย
4
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
-บรรยาย
5
Big 3P
-บรรยาย
6
SU Model
-บรรยาย
7
DRU Model
-บรรยาย
8
รูปแบบการสอนที่เหมาะสมกับการสอนวิชาชีววิทยา
-บรรยาย
-ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
9
รูปแบบการสอนที่เหมาะสมกับการสอนวิชาเคมี
-บรรยาย
-ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
10
รูปแบบการสอนที่เหมาะสมกับการสอนวิชาฟิสิกส์
-บรรยาย
-ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
11
ออกแบบและพัฒนารูปแบบการสอนแบบDRU
-บรรยาย
-ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
12
ทดลองสอนตามรูปแบบการสอนที่พัฒนา
-ทดลองสอน
13
ทดลองสอนตามรูปแบบการสอนที่พัฒนา
-ทดลองสอน
14
สรุปการพัฒนารูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้น
-ทำบล็อก
15
อภิปรายผลการทดลองรูปแบบการสอนที่พัฒนา
-ร่วมกันอภิปรายและนำเสนอ

2.2 รูปแบบการสอนที่พัฒนาแบบใหม่และรูปแบบการสอนแบบเก่า
รูปแบบ KPA
DRU Model
1. ขั้นสร้างความสนใจ(engagement)
          ครูนำเข้าบทเรียนโดยถามคำถามเพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียนเพื่อนำเข้าสู่กิจกรรมเรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ ดังนี้
           นักเรียนคิดว่าแรงคืออะไร
         แล้วการเคลื่อนที่คืออะไร
2.   ขั้นสำรวจและค้นหา(exploration)
           ให้นักเรียนแบ่ง 6 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ให้นักเรียนส่งตัวแทนมารับใบงาน เรื่อง แรงในชีวิตประจำวัน จากนั้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากหนังสือเรียน และสื่อการเรียนที่ครูนำมาประกอบการเรียนการสอน
3.   ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป(explanation)
          ครูให้ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่ม  นำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียนเพื่อเปรียบเทียบและตรวจสอบความถูกต้อง
          ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม โดยครูถามคำถามหลังทำกิจกรรมดังนี้
         ถ้าใช้นิ้วมือดันขวดน้ำ ขวดน้ำจะเป็นอย่างไร 
         แล้วขวดน้ำจะเกิดการเคลื่อนที่ไหม 
4.   ขั้นขยายความรู้(elaboration)
         ครูให้นักเรียนออกมาเลือกคำถามจากกล่อง  เพื่อทดลอบความเข้าใจของนักเรียน โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาเลือกหมายเลขคำถามจากกล่อง จากนั้นให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันหาคำตอบ
5.   ขั้นประเมิน (evaluation)
การประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังนี้
การประเมินก่อนเรียน
       1.   คำถามที่ใช้กระตุ้นความคิด
         นักเรียนคิดว่าแรงคืออะไร
         แล้วการเคลื่อนที่คืออะไร
การประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
        1.   ใบบันทึกผลการทดลอง เรื่อง   แรงและการเคลื่อนที่
        2.   ประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และ สังเกตการตอบคำถามของนักเรียนในชั้นเรียน
การประเมินหลังเรียน
        1.   ครูใช้คำถามทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยใช้คำถามดังนี้
             ถ้าใช้นิ้วมือดันขวดน้ำ ขวดน้ำจะเป็นเป็นอย่างไร 
             แล้วขวดน้ำจะเกิดการเคลื่อนที่ไหม
ขั้นที่ 1 การวินิจฉัยความต้องการในการเรียนรู้ (Diagnosis of Needs : D)
     1.1) ใช้คำถามกระตุ้นความคิดเพื่อให้ผู้เรียนกำหนดจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ ดังนี้ ( P )
        นักเรียนคิดว่าแรงคือ อะไร
     1.2) ใช้คำถามเพื่อให้ผู้เรียนคิด ออกแบบการเรียนรู้ การวางกรอบ การประเมินการเรียนรู้ ดังนี้
        แล้วการเคลื่อนที่ คืออะไร
      ขั้นที่ 2 ขั้นการวิจัยเพื่อกำหนดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ (Research into identifying effective learning environment: R)
        ผู้เรียนออกแบบการเรียนรู้หรือเลือกกลยุทธ์การเรียนรู้ของตนเองที่คาดว่าจะช่วยให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนเลือกว่าจะทำกิจกรรมการเรียนรู้แบบไหนแล้วจัดทำเป็นชิ้นงาน โดยมีตัวเลือกให้ดังนี้ ( S )
     -ให้นักเรียนแบ่ง 6 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ให้นักเรียนส่งตัวแทนมารับใบงาน เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ จากนั้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากหนังสือเรียน และสื่อการเรียนที่ครูนำมาประกอบการเรียนการสอน
      - ครูให้ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่ม  นำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียนเพื่อเปรียบเทียบและตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นที่ 3 การตรวจสอบทบทวนโดยใช้แนวคิด UDLเพื่อการประเมินการพัฒนาการเรียนรู้ (Universal Design for Learning and Assessment : U)
       ให้ผู้เรียนนำเสนอการวิเคราะห์และอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันในประเด็นต่อไปนี้ ( N)
        -  ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการทำกิจกรรม โดยครูถามคำถามหลังทำกิจกรรมดังนี้
            ถ้าใช้นิ้วมือดันขวดน้ำ ขวดน้ำจะเป็นอย่างไร 
            แล้วขวดน้ำจะเกิดการเคลื่อนที่ไหม
 ครูให้นักเรียนออกมาเลือกคำถามจากกล่อง  เพื่อทดสอบความเข้าใจของนักเรียน โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาเลือกหมายเลขคำถามจากกล่อง จากนั้นให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันหาคำตอบ
การประเมินหลังเรียน
        1.   ครูใช้คำถามทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยใช้คำถามดังนี้
             ถ้าใช้นิ้วมือดันขวดน้ำ ขวดน้ำจะเป็นอย่างไร
             แล้วขวดน้ำจะเกิดการเคลื่อนที่ไหม

ความคิดเห็น

  1. Harrah's Cherokee Casinos & Entertainment in Cherokee, NC
    Harrah's Cherokee Casinos 정읍 출장마사지 & Entertainment has partnered with 세종특별자치 출장안마 Harrah's Cherokee 동해 출장안마 Casino Resort for more than two 강릉 출장마사지 decades. This historic 충주 출장샵 property is

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

รูปแบบการวิจัย (Research Design)

การวิจัยในชั้นเรียน : ความหมาย ความสำคัญ หลักการ ขั้นตอน

ประโยชน์ของการวิจัย